Skip to main content

กำหนดการ

การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ ครั้งที่ 33

วิทยากรห้องหลัก


Dr. Shota Nakamura


“Rapid On-Site Identification of Mycobacterium”
โดย
Dr. Shota Nakamura, Ph.D
Bioinformatics Center,
Research Institute forMicrobial Diseases,
Osaka University



Dr.Henry Ho



“Revolutionizing Regenerative Medicine with ATMPs: Advancing Tissue Engineering
and Bone Regeneration for the Now and Future”

โดย
Dr. Henry Ho
CEO บริษัท VENTAS BIO, Singapore


 Dr. Dan Zhang



“Global Collaboration Strategies for Cellular Therapeutics”
โดย
Dr. Dan Zhang
Co-Founder &Co-COB of Hillgene


รศ.ดร.ศรินทร์ ฉิมฉรงค์

 


“งานวิจัยพื้นฐานเพื่อพัฒนาวัคซีนชนิด mRNA
ที่มีประสิทธิภาพสูงและต้นทุนต่ำในประเทศ
Basic Research to Develop an Effective mRNA Vaccine
with Low Cost in Thailand”
โดย
รศ.ดร.ศรินทร์ ฉิมฉรงค์
สถาบันชีววิทยาศาสตร์การแพทย์โมเลกุล
มหาวิทยาลัยมหิดล

ผศ.ดร.ศุภกร รักใหม่


“การพัฒนาระบบสังเคราะห์และห่อหุ้มอนุภาคนาโน
ด้วยเทคโนโลยีไมโครฟลูอิดิก เพื่อการผลิตวัคซีน ยา และเวชสำอาง
Development of Microfluidic-based Nano Particle
Synthesis and Encapsulation Systems for Vaccine,
Drug and Cosmeceutical Production”
โดย

ผศ.ดร.ศุภกร รักใหม่
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน
(องค์การมหาชน)
 

 

“Global TB Eradication: Disease Burden Reduction and Elimination Strategy”
โดย

Dr. Dhananjay Kapse
Serum Institute of India


 



Recombinant BCG

Serum Institute of India



Top

วิทยากรห้องย่อย


R&D สาขา 1 : ด้านวิจัยและนวัตกรรมด้านโรค

(Research and Innovation on Diseases)
หัวข้อ From Historical to Genome Era of Leptospira spp.

ผศ.ดร.ประเวช อรรจวัฒนวงศ์


"From Historical to Genome Era of Leptospira spp.
"
โดย
ผศ.ดร.ประเวช อรรจวัฒนวงศ์
หน่วยชีวสารสนเทศทางการแพทย์
ฝ่ายวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 
มหาวิทยาลัยมหิดล


R&D สาขา 2 : ด้านวิจัยและนวัตกรรมด้านคุ้มครองผู้บริโภค 
(Research and Innovation on Consumer Protection)

หัวข้อ Transforming Healthcare through Health Innovation

ผศ.ดร. อัครวิทย์ กาญจนโอภาษ

“การบริหารผลงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์: จากนโยบายสู่การปฏิบัติ”
โดย

ผศ.ดร.อัครวิทย์ กาญจนโอภาษ

 ที่ปรึกษาอาวุโส สภานโยบายการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ

รศ.ดร.ประภาศรี เทพรักษา

"Future Food & Health Innovation:
เปลี่ยนงานวิจัยเป็นโอกาสธุรกิจอาหารยุคใหม่"
โดย

รศ.ดร.ประภาศรี เทพรักษา
กรรมการผู้จัดการ บริษัทเอฟไอทียู จำกัด
และหัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์
และนวัตกรรมทางอาหาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 

ดร.วิวรรณ จรีรัตนชาติ



"LANTA and AI for research"
โดย

ดร.วิวรรณ จรีรัตนชาติ
นักวิจัย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)


นายธนาวุฒิ ศรีนิรัตน์

"หุ่นยนต์บริการสุขภาพในยุคดิจิทัล"
โดย

 ดร.ธนาวุฒิ ศรีนิรัตน์

ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารการตลาด
บริษัท เน็คซ์โรโบติกส์ แล็บ จำกัด


R&D สาขา 3 : การประเมินความเสี่ยงและเตือนภัยสุขภาพ 
(Risk Assessment and Health Threat Warning)

หัวข้อ “Comprehensive Risk Assessment in Health Products: Ensuring Consumer Safety in the Age of Innovation”

รศ.น.สพ.ดร.ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ


“การเตรียมความพร้อมคนไทยในการรับมือกับพิษภัยที่ปนเปื้อน น้ำ อาหาร และอากาศ ที่อยู่รายรอบตัวเราได้อย่างไร?
โดย
รศ.น.สพ.ดร.ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ
ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข
คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ผศ.ดร.เพ็ญศรี วัจฉละญาณ


“ประเมินความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน
โดย
ผศ.ดร.เพ็ญศรี วัจฉละญาณ
สมาคมพิษวิทยาแห่งประเทศไทย

Thai Society of Toxicology
Mr.Ted Xing

“Evaluating the Safety of Emerging Cosmetics
Technologies and Formulation”
โดย

Mr. Ted Xing,

Director of Safety Evaluation
L'Oréal Asia Research & Innovation Centre


R&D สาขา 4 : การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางห้องปฏิบัติการด้านระบบคุณภาพและความปลอดภัย
(Laboratory Strengthening on Quality and Safety)

หัวข้อ "การพัฒนาการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการและเครือข่ายทางการแพทย์และสาธารณสุข"

รศ.ดร.ประสงค์ แคน้ำ


“Embracing Disruptive Technologies: Transforming Proficiency Testing Providers to Elevate Medical Laboratory Quality 
(ผสานเทคโนโลยีสู่แนวทางใหม่ของผู้ให้บริการการทดสอบความชำนาญเพื่อยกระดับคุณภาพของห้องปฏิบัติการทางการแพทย์)”
โดย
รศ.ดร.ประสงค์ แคน้ำ
คณะเทคนิคการแพทย์ มหาลัยวิทยาลัยมหิดล

ผศ.ดร.ปฏิมาพร วงษ์พรหมพิทักษ์

ผศ.พญ.ปณตศม เง่ายุธากร


"ความสำเร็จการผลิตเซลล์ ผลิตภัณฑ์การแพทย์ชั้นสูง 

(Advanced Therapy Medicinal Products) 
สู่การรักษาผู้ป่วยเยื่อบุผิวกระจกตาบกพร่อง”
โดย
ผศ.ดร.ปฏิมาพร วงษ์พรหมพิทักษ์
ผศ.พญ.ปณตศม เง่ายุธากร
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
 

นางศิริพรรณ วงศ์วานิช


"มาตรฐานคุณภาพการผลิต ผลิตภัณฑ์การแพทย์ชั้นสูง
และมาตรฐานคุณภาพ บริการตรวจสุขภาพ ระดับชาติ
และนานาชาติ
ที่ประชาชนสามารถเข้าถึง”
โดย
นางศิริพรรณ วงศ์วานิช
ข้าราชการบำนาญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์


 
R2R สาขา 1 : เครือข่ายระบบสุขภาพปฐมภูมิ วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน และสนับสนุนบริการ

ผศ.ดร.ทนพญ.พัชราภรณ์ ทิพยวัฒน์

“การพัฒนาอาหารเก็บเชื้อแบคทีเรียแบบฟิลม์บางและการประยุกต์ใช้ใน
การทดสอบความชำนาญห้องปฏิบัติการ”

โดย
ผศ.ดร.ทนพญ.พัชราภรณ์ ทิพยวัฒน์
คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Top
11 มิถุนายน 2568

 

08:00 - 09:00 น. ลงทะเบียน  
ห้องแกรนด์ ไดมอน บอลรูม ชั้น 2
09 : 00 – 09 : 30 น. 

การบรรยายโดยผู้ได้รับรางวัล
นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ดีเด่น
     เรื่อง..................................................
     โดย....................................................

 
09 : 30 – 10 : 00 น. การบรรยายโดยผู้ได้รับรางวัล
นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ดีเด่น
     เรื่อง..................................................
     โดย....................................................
 
10 : 00 – 10 : 40 น. Keynote Speaker (China)
      เรื่อง..................................................
      โดย....................................................
 
10 : 40 – 11 : 20 น. Keynote Speaker (India)
      เรื่อง..................................................
      โดย....................................................
 
11 : 20 – 12 : 00 น. Keynote Speaker
เรื่อง "Rapid On-SiteIdentificationof Mycobacterium"
Dr. Shota Nakamura, Ph.D.
Diseases, Osaka University, Japan
Associate Professor, Bioinformatics Center, Research Institute for Microbial 
 
13 : 00 - 13 : 40 น. Keynote Speaker
เรื่อง "Revolutionizing Regenerative Medicine with ATMPs: Advancing Tissue Engineeringand Bone Regeneration for the Now and Future"
Dr. Henry Ho

CEO บริษัท VENTAS BIO, Singapore
 
13 : 40 - 14 : 20 น. Keynote Speaker
เรื่อง “งานวิจัยพื้นฐานเพื่อพัฒนาวัคซีนชนิด mRNA ที่มีประสิทธิภาพสูงและต้นทุนต่ำในประเทศ
Basic Research to Develop an Effective mRNA Vaccine with Low Cost in Thailand”
รศ.ดร.ศรินทร์ ฉิมฉรงค์
สถาบันชีววิทยาศาสตร์การแพทย์โมเลกุล
มหาวิทยาลัยมหิดล
 
14 : 20 - 15 : 00 น. Keynote Speaker
เรื่อง “การพัฒนาระบบสังเคราะห์และห่อหุ้มอนุภาคนาโนด้วยเทคโนโลยีไมโครฟลูอิดิก เพื่อการผลิตวัคซีน ยา และเวชสำอาง
Development of Microfluidic-based Nano ParticleSynthesis and Encapsulation Systems for Vaccine, Drug and Cosmeceutical Production”

ผศ.ดร. ศุภกร รักใหม่
สถาบันแสงซินโครตรอน นครราชสีมา
 
15 : 00 – 15 : 25 น. การบรรยายโดยผู้รับรางวัล DMSc Award
ประเภทงานวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
     เรื่อง.......................................................
     โดย........................................................
 
15 : 25 – 15 : 50 น.  ประเภทหนังสือ/ตำราทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
     เรื่อง.......................................................
     โดย........................................................   
 
15 : 50 – 16 : 15 น. ประเภทการพัฒนาบริการหรือการพัฒนาคุณภาพบริการทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
     เรื่อง.......................................................
     โดย.......................................................
 
16 : 15 – 16 : 40 น. การบรรยายโดย ผู้ได้รับรางวัลผู้มีผลงานทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนดีเด่น
     เรื่อง............................................................
     โดย.............................................................
 

 
 
Top
12 มิถุนายน 2568

 

 08 : 00 - 09 : 00 น.  ลงทะเบียน
ห้องแซฟไฟร์ ชั้น 2
09 : 00 – 11 : 00 น.

การบรรยายโดยวิทยากรรับเชิญ ด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D)
สาขาที่ 1 วิจัยและนวัตกรรมด้านโรค (Research and Innovation on Diseases)
เรื่อง From Historical to Genome Era of Leptospira spp.
โดย ผศ.ดร.ประเวช อรรจวัฒนวงศ์
หน่วยชีวสารสนเทศทางการแพทย์ ฝ่ายวิจัย คณะแพทยศาสตร์
ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ผู้ร่วมอภิปรายโดย ดร.นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ภูมิคุ้มกันวิทยา) สำนักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

ห้องแกรนด์ ไดมอนด์ บอลรูม ชั้น 2
09 : 00 – 11 : 00 น.
สาขาที่ 2 วิจัยและนวัตกรรมด้านคุ้มครองผู้บริโภค (Research and Innovation on Consumer Protection)
หัวข้อ "Transforming Healthcare through Health Innovation"
เรื่อง การบริหารผลงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์: จากนโยบายสู่การปฏิบัติ
โดย ผศ.ดร.อัครวิทย์ กาญจนโอภาษ
ที่ปรึกษาอาวุโส สภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ
เรื่อง Future Food & Health Innovation: เปลี่ยนงานวิจัยเป็นโอกาสธุรกิจอาหารยุคใหม่
โดย รศ.ดร.ประภาศรี เทพรักษา
กรรมการผู้จัดการ บริษัทเอฟไอทียู จำกัด และหัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ และนวัตกรรมทางอาหาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เรื่อง LANTA and AI for research
โดย ดร.วิวรรณ จรีรัตนชาติ
นักวิจัย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
เรื่อง หุ่นยนต์บริการสุขภาพในยุคดิจิทัล
โดย ดร.ธนาวุฒิ ศรีนิรัตน์
ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารการตลาด บริษัท เน็คซ์โรโบติกส์ แล็บ จำกัด
ผู้ร่วมอภิปรายโดย ทนพญ.สิริภากร แสงกิจพร
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ชีววิทยา) สำนักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ห้องแซฟไฟร์ 203 ชั้น 2
09 : 00 – 11 : 00 น.
สาขาที่ 3 การประเมินความเสี่ยงและเตือนภัยสุขภาพ (Risk Assessment and Health Threat Warning)
หัวข้อ “Comprehensive Risk Assessment in Health Products: Ensuring Consumer Safety in the Age of Innovation”
เรื่อง การเตรียมความพร้อมคนไทยในการรับมือกับพิษภัยที่ปนเปื้อนน้ำ อาหาร และอากาศ ที่อยู่รายรอบตัวเราได้อย่างไร?
โดย
รศ.น.สพ.ดร.ศุภชัย เนื้อนวลสุวรรณ
ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เรื่อง ประเมินความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน
โดย ผศ.ดร.เพ็ญศรี วัจฉละญาณ
สมาคมพิษวิทยาแห่งประเทศไทย (Thai Society of Toxicology)
เรื่อง Evaluating the Safety of Emerging Cosmetics Technologies and Formulations
โดย
Dr. Ted Xing
Director of Safety Evaluation, L'Oréal Asia Research & Innovation Centre
ผู้ร่วมอภิปรายโดย ดร.เกรียงศักดิ์ ฤชุศาศวัต
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (จุลชีววิทยา) สำนักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

ห้องแซฟไฟร์ 204 ชั้น 2
09 : 00 – 11 : 00 น.

สาขาที่ 4 การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางห้องปฏิบัติการด้านระบบคุณภาพและความปลอดภัย (Laboratory Strengthening on Quality and Safety)
หัวข้อ "การพัฒนาการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการและเครือข่ายทางการแพทย์และสาธารณสุข
เรื่อง
Embracing Disruptive Technologies: Transforming Proficiency Testing Providers to Elevate Medical Laboratory Quality (ผสานเทคโนโลยีสู่แนวทางใหม่ของผู้ให้บริการการทดสอบความชำนาญ เพื่อยกระดับคุณภาพของห้องปฏิบัติการทางการแพทย์)
โดย รศ.ดร.ประสงค์ แคน้ำ
คณะเทคนิคการแพทย์ มหาลัยวิทยาลัยมหิดล
เรื่อง ความสำเร็จการผลิตเซลล์ ผลิตภัณฑ์การแพทย์ชั้นสูง
(Advanced Therapy Medicinal Products) สู่การรักษาผู้ป่วยเยื่อบุผิวกระจกตาบกพร่อง
โดย ผศ.ดร.ปฏิมาพร วงษ์พรหมพิทักษ์
        ผศ.พญ.ปณตศม เง่ายุธากร
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 
เรื่อง มาตรฐานคุณภาพการผลิต ผลิตภัณฑ์การแพทย์ชั้นสูงและมาตรฐานคุณภาพ บริการตรวจสุขภาพ ระดับชาติและนานาชาติ ที่ประชาชนสามารถเข้าถึง
โดย นางศิริพรรณ วงศ์วานิช
ข้าราชการบำนาญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ผู้ร่วมอภิปรายโดย ดร.สิริพรรณ แสงอรุณ
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์การแพทย์ (มาตรฐานห้องปฏิบัติการ) สำนักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ห้องแซฟไฟร์ 109 ชั้น 1
09 : 00 – 11 : 00 น.

นำเสนอผลงานวิชาการด้วยวาจา (Oral Presentation)
ด้านงานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
สาขาที่ 1 เครือข่ายระบบสุขภาพปฐมภูมิ วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน และงานสนับสนุนบริการ (Primary Healthcare Service, Community MedicalSciences and Service Support)
เรื่อง
Wellness และการพัฒนาสมุนไพรเพื่อสร้างเศรษฐกิจ
โดย ผศ.ดร.เอกราช บำรุงพืชน์
ปร.ด. (โภชนศาสตร์) มหาวิทยาธุรกิจบัณฑิตย์

ห้องแซฟไฟร์ 110 ชั้น 1
09 : 00 – 11 : 00 น.
สาขาที่ 2 การบริการและตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์ และสาธารณสุข (Medical and Public Health Services andLaboratory Testing)
เรื่อง
การพัฒนาอาหารเก็บเชื้อแบคทีเรียแบบฟิลม์บางและการประยุกต์ใช้ในการทดสอบความชำนาญห้องปฏิบัติการ
โดย ผศ.ดร.ทนพญ.พัชราภรณ์ ทิพยวัฒน์
คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

11 : 00 - 12 : 00 น.
โถงหน้าห้องแกรนด์ ไดมอนด์ บอลรูม ชั้น 2

โถงหน้าห้องประชุม ชั้น 1

ห้องแซฟไฟร์ ชั้น 2

ห้องแซฟไฟร์ ชั้น 1

 

  • เยี่ยมชมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ
  • เยี่ยมชมนิทรรศการกรมและเครือข่าย

  •  เยี่ยมชมบูธผู้ประกอบการ

  • เยี่ยมชม/ประกวดผลงานโปสเตอร์ด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D)

  • เยี่ยมชม/ประกวดผลงานโปสเตอร์ด้านงานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
12 : 00 - 13 : 00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน / เยี่ยมชมนิทรรศการ / Luncheon Symposium
 ห้องแกรนด์ ไดมอนด์ บอลรูม และห้องแซฟไฟร์ ชั้น 2
14 : 30 - 16 : 30 น.
 

นำเสนอผลงานวิชาการด้วยวาจา (Oral Presentation)
ด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D)

  • สาขาที่ 1 วิจัยและนวัตกรรมด้านโรค(Research and Innovation on Diseases)
  • สาขาที่ 2 วิจัยและนวัตกรรมด้านคุ้มครองผู้บริโภค(Research and Innovation on Consumer Protection)
  • สาขาที่ 3 การประเมินความเสี่ยงและเตือนภัยสุขภาพ (Risk Assessment and Health Threat Warning)
  • สาขาที่ 4 การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางห้องปฏิบัติการด้านระบบคุณภาพและความปลอดภัย (Laboratory Strengthening on Quality and Safety)
ห้องแซฟไฟร์ 109 110
ชั้น 1

นำเสนอผลงานวิชาการด้วยวาจา (Oral Presentation)
ด้านงานประจำสู่งานวิจัย (R2R)

  • สาขาที่ 1 เครือข่ายระบบสุขภาพปฐมภูมิ วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน และงานสนับสนุนบริการ (Primary Healthcare Service, Community MedicalSciences and Service Support)
  • สาขาที่ 2 การบริการและตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์ และสาธารณสุข (Medical and Public Health Services andLaboratory Testing)
 
Top
13 มิถุนายน 2568

 

 07 : 30 - 08 : 30 น.   ลงทะเบียน
ห้องแกรนด์ ไดมอนด์ บอลรูม ชั้น 2  
08 : 30 - 10 : 00 น.
ซักซ้อม/เตรียมความพร้อมรับเสด็จ
10 : 00 - 11 : 15 น. 

ศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ
เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี
1. พระราชทานพระดำรัสเปิดการประชุม
2. พระราชทานโล่ที่ระลึก

  • นักวิทยาศาสตร์การแพทย์เกียรติยศ
  • นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ดีเด่น
  • นักวิทยาศาสตร์การแพทย์รุ่นใหม่
  • DMSc Award
  • ผู้มีผลงานทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชนดีเด่น
  • ผู้มีอุปการคุณ

3. พระราชทานฉายพระรูปร่วมกับผู้บริหารระดับสูง

10 : 40 - 11 : 15 น.

ปาฐกถาเกียรติยศ ศาสตราจารย์นายแพทย์เฉลิม พรมมาส
     เรื่อง.......................................................

องค์ปาฐก นักวิทยาศาสตร์การแพทย์เกียรติยศ
     โดย.........................................................

11 : 15 - 12 : 45 น.   

พิธีมอบรางวัลการนำเสนอผลงาน

  • ด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D)
  • ด้านงานประจำสู่งานวิจัย (R2R) 
   พิธีปิดการประชุม
 12 : 45 - 13 : 30 น.   พักรับประทานอาหารกลางวัน
 
 
Top